คู่มือผู้ใช้ iPad
- ยินดีต้อนรับ
-
-
- iPad รุ่นที่สามารถใช้งานร่วมกับ iPadOS 18 ได้
- iPad mini (รุ่นที่ 5)
- iPad mini (รุ่นที่ 6)
- iPad mini (A17 Pro)
- iPad (รุ่นที่ 7)
- iPad (รุ่นที่ 8)
- iPad (รุ่นที่ 9)
- iPad (รุ่นที่ 10)
- iPad Air (รุ่นที่ 3)
- iPad Air (รุ่นที่ 4)
- iPad Air (รุ่นที่ 5)
- iPad Air 11 นิ้ว (M2)
- iPad Air 13 นิ้ว (M2)
- iPad Pro 11 นิ้ว (รุ่นที่ 1)
- iPad Pro 11 นิ้ว (รุ่นที่ 2)
- iPad Pro 11 นิ้ว (รุ่นที่ 3)
- iPad Pro 11 นิ้ว (รุ่นที่ 4)
- iPad Pro 11 นิ้ว (M4)
- iPad Pro 12.9 นิ้ว (รุ่นที่ 3)
- iPad Pro 12.9 นิ้ว (รุ่นที่ 4)
- iPad Pro 12.9 นิ้ว (รุ่นที่ 5)
- iPad Pro 12.9 นิ้ว (รุ่นที่ 6)
- iPad Pro 13 นิ้ว (M4)
- ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับการตั้งค่า
- นำ iPad มาใช้ในแบบของคุณเอง
- ติดต่อกับเพื่อนและครอบครัว
- กำหนดพื้นที่ทำงานของคุณเอง
- ทำได้มากขึ้นด้วย Apple Pencil
- กำหนด iPad สำหรับเด็กของคุณเอง
-
- มีอะไรใหม่ใน iPadOS 18
-
- ปรับหรือปิดเสียง
- สร้างหน้าจอล็อคแบบกำหนดเอง
- เปลี่ยนภาพพื้นหลัง
- ใช้และกำหนดศูนย์ควบคุมเอง
- ปรับความสว่างหน้าจอและค่าสมดุลแสงสี
- กำหนดขนาดข้อความและการตั้งค่าการซูมเอง
- เปลี่ยนชื่อ iPad ของคุณ
- เปลี่ยนวันที่และเวลา
- เปลี่ยนภาษาและภูมิภาค
- เปลี่ยนแอปเริ่มต้น
- เปลี่ยนเครื่องมือค้นหาเริ่มต้นของคุณบน iPad
- หมุนหน้าจอ iPad ของคุณ
- กำหนดตัวเลือกการแชร์เอง
-
-
- เริ่มต้นใช้งาน FaceTime
- สร้างลิงก์ FaceTime
- ถ่าย Live Photo
- เปิดใช้คำบรรยายเสียงสด
- ใช้แอปอื่นระหว่างโทรศัพท์
- โทร FaceTime แบบกลุ่ม
- ดูผู้เข้าร่วมในรูปแบบตาราง
- ใช้ SharePlay เพื่อดู ฟัง และเล่นด้วยกัน
- แชร์หน้าจอของคุณในการโทร FaceTime
- ร้องขอหรือให้การควบคุมระยะไกลในการโทร FaceTime
- ใช้งานเอกสารร่วมกันในการโทร FaceTime
- ใช้คุณสมบัติการประชุมสายวิดีโอ
- ส่งต่อการโทร FaceTime ไปยังอุปกรณ์ Apple อีกเครื่อง
- เปลี่ยนการตั้งค่า FaceTime แบบวิดีโอ
- เปลี่ยนการตั้งค่า FaceTime แบบเสียง
- เปลี่ยนรูปลักษณ์ของคุณ
- ออกจากการโทรหรือสลับไปใช้แอปข้อความ
- ปิดกั้นการโทร FaceTime และแจ้งว่าเป็นสแปม
-
- เริ่มต้นใช้งาน Freeform
- สร้างบอร์ด Freeform
- วาดหรือเขียนข้อความ
- แก้โจทย์คณิตศาสตร์ที่เขียนด้วยลายมือ
- เพิ่มข้อความในโน้ตแปะ รูปร่าง และกล่องข้อความ
- เพิ่มรูปร่าง เส้น และลูกศร
- เพิ่มไอดะแกรม
- เพิ่มรูปภาพ วิดีโอ และไฟล์อื่นๆ
- ปรับใช้รูปแบบที่สอดคล้องกัน
- จัดวางรายการบนบอร์ด
- นำทางและแสดงตำแหน่ง
- ส่งสำเนาหรือ PDF
- พิมพ์บอร์ด
- แชร์บอร์ดและใช้งานร่วมกัน
- ค้นหาบอร์ด Freeform
- ลบและกู้คืนบอร์ด
- เปลี่ยนการตั้งค่า Freeform
-
- ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับบ้าน
- อัปเกรดเป็นสถาปัตยกรรมบ้านแบบใหม่
- ตั้งค่าอุปกรณ์เสริม
- ควบคุมอุปกรณ์เสริม
- ควบคุมบ้านของคุณโดยใช้ Siri
- ใช้พยากรณ์โครงข่ายไฟฟ้าเพื่อวางแผนการใช้พลังงานของคุณ
- ดูการใช้ไฟฟ้าและอัตราค่าไฟฟ้า
- ตั้งค่า HomePod
- ควบคุมบ้านของคุณจากระยะไกล
- สร้างและใช้บรรยากาศ
- ใช้การทำงานอัตโนมัติ
- ตั้งค่ากล้องรักษาความปลอดภัย
- ใช้การจำใบหน้า
- กำหนดค่าเราท์เตอร์
- เชิญคนอื่นให้ควบคุมอุปกรณ์เสริม
- เพิ่มบ้านเพิ่มเติม
-
- ตั้งค่าแอปข้อความ
- เกี่ยวกับ iMessage
- ส่งและตอบกลับข้อความ
- กำหนดเวลาเพื่อส่งข้อความในภายหลัง
- เลิกส่งและแก้ไขข้อความ
- ติดตามข้อความ
- ค้นหา
- ส่งต่อและแชร์ข้อความ
- การสนทนาแบบกลุ่ม
- ดู ฟัง หรือเล่นด้วยกันโดยใช้ SharePlay
- แชร์หน้าจอ
- ใช้งานโปรเจ็กต์ร่วมกัน
- ใช้แอป iMessage
- ถ่ายและแก้ไขรูปภาพหรือวิดีโอ
- แชร์รูปภาพ ลิงก์ และอื่นๆ
- ส่งสติกเกอร์
- สร้างและส่ง Memoji
- โต้ตอบด้วย Tapback
- ทำให้ข้อความมีสไตล์และเคลื่อนไหว
- วาดและเขียนข้อความ
- ส่งและบันทึก GIF
- ขอ ส่ง และรับการชำระเงิน
- ส่งและรับข้อความเสียง
- แชร์ตำแหน่งที่ตั้งของคุณ
- เปิดใช้หรือปิดใช้การแจ้งว่าได้อ่านแล้ว
- เปลี่ยนการแจ้งเตือน
- ปิดกั้น ฟิลเตอร์ และแจ้งข้อความ
- ลบข้อความและไฟล์แนบ
- กู้คืนข้อความที่ลบไปแล้ว
-
- เริ่มต้นใช้งานโน้ต
- สร้างและจัดรูปแบบโน้ต
- ใช้โน้ตด่วน
- เพิ่มการวาดและลายมือเขียน
- ป้อนสูตรและสมการ
- เพิ่มรูปภาพ วิดีโอ และอื่นๆ
- บันทึกเสียงและถอดเสียง
- สแกนข้อความและเอกสาร
- ใช้งานกับ PDF
- เพิ่มลิงก์
- ค้นหาโน้ต
- จัดระเบียบในโฟลเดอร์
- จัดระเบียบด้วยแท็ก
- ใช้โฟลเดอร์อัจฉริยะ
- แชร์และใช้งานร่วมกัน
- ส่งออกหรือพิมพ์โน้ต
- ล็อคโน้ต
- เพิ่มหรือเอาบัญชีออก
- เปลี่ยนมุมมองโน้ต
- เปลี่ยนการตั้งค่าของแอปโน้ต
- ใช้ปุ่มลัดแป้นพิมพ์
-
- ใช้รหัสผ่านบน iPad
- ค้นหารหัสผ่านของคุณสำหรับเว็บไซต์หรือแอป
- เปลี่ยนรหัสผ่านสำหรับเว็บไซต์หรือแอป
- เอารหัสผ่านออก
- กู้คืนรหัสผ่านที่ลบไปแล้ว
- สร้างรหัสผ่านสำหรับเว็บไซต์หรือแอป
- แสดงรหัสผ่านเป็นข้อความขนาดใหญ่
- ใช้พาสคีย์เพื่อลงชื่อเข้าเว็บไซต์และแอป
- ลงชื่อเข้าด้วย Apple
- แชร์รหัสผ่าน
- ป้อนรหัสผ่านที่ปลอดภัยสูงโดยอัตโนมัติ
- ดูเว็บไซต์ที่ไม่ได้รวมไว้ในป้อนอัตโนมัติ
- เปลี่ยนรหัสผ่านที่ปลอดภัยต่ำหรือถูกลดหย่อนความปลอดภัย
- ดูรหัสผ่านและข้อมูลที่เกี่ยวข้องของคุณ
- ค้นหารหัสผ่าน Wi-Fi ของคุณ
- แชร์รหัสผ่านอย่างปลอดภัยด้วย AirDrop
- ทำให้รหัสผ่านของคุณมีบนอุปกรณ์ทุกเครื่องของคุณ
- ป้อนรหัสตรวจสอบยืนยันโดยอัตโนมัติ
- ลงชื่อเข้าด้วยความท้าทาย CAPTCHA ที่น้อยลง
- ใช้การตรวจสอบสิทธิ์สองปัจจัย
- ใช้กุญแจความปลอดภัย
-
- เริ่มต้นใช้งานรูปภาพ
- ดูรูปภาพและวิดีโอ
- ดูข้อมูลรูปภาพและวิดีโอ
- กำหนดแอปรูปภาพเอง
- ฟิลเตอร์และเรียงคลังรูปภาพ
- สำรองข้อมูลของคุณด้วย iCloud
- ลบหรือซ่อนรูปภาพและวิดีโอ
- ค้นหารูปภาพและวิดีโอ
- รับคำแนะนำภาพพื้นหลัง
- สร้างสติกเกอร์จากรูปภาพของคุณ
- ทำสำเนาและคัดลอกรูปภาพและวิดีโอ
- ผสานรูปภาพซ้ำ
- นำเข้าและส่งออกรูปภาพและวิดีโอ
- พิมพ์รูปภาพ
-
- เริ่มต้นใช้งานเตือนความจำ
- ตั้งค่าเตือนความจำ
- สร้างลิสต์ของที่ต้องซื้อ
- เพิ่มรายละเอียด
- ทำรายการให้เสร็จและเอารายการออก
- แก้ไขและจัดระเบียบลิสต์
- ค้นหาลิสต์ของคุณ
- จัดระเบียบหลายลิสต์
- แท็กรายการ
- ใช้ลิสต์อัจฉริยะ
- แชร์และใช้งานร่วมกัน
- พิมพ์ลิสต์
- ทำงานกับแม่แบบ
- เพิ่มหรือเอาบัญชีออก
- เปลี่ยนการตั้งค่าเตือนความจำ
- ใช้ปุ่มลัดแป้นพิมพ์
-
- ท่องเว็บ
- ค้นหาเว็บไซต์
- ดูไฮไลท์
- กำหนดการตั้งค่า Safari ของคุณเอง
- เปลี่ยนเค้าโครง
- สร้างโปรไฟล์ Safari หลายไฟล์
- ใช้ Siri เพื่อฟังหน้าเว็บ
- คั่นหน้าเว็บไซต์
- คั่นหน้าเว็บไซต์เป็นรายการโปรด
- บันทึกหน้าเป็นรายการอ่าน
- ค้นหาลิงก์ที่แชร์กับคุณ
- ใส่คำอธิบายประกอบและบันทึกหน้าเว็บเป็น PDF
- กรอกแบบฟอร์มโดยอัตโนมัติ
- รับส่วนขยาย
- ล้างแคชและคุกกี้ของคุณ
- เปิดใช้งานคุกกี้
- คำสั่งลัด
- เคล็ดลับ
-
- เริ่มต้นใช้งาน Apple Intelligence
- ใช้เครื่องมือการเขียน
- ใช้ Apple Intelligence ในแอปเมล
- ใช้ Apple Intelligence ในแอปข้อความ
- ใช้ Apple Intelligence ด้วย Siri
- รับสรุปหน้าเว็บ
- รับสรุปของเสียงบันทึก
- สร้างภาพต้นฉบับด้วย Image Playground
- สร้าง Genmoji ด้วย Apple Intelligence
- ใช้ไม้เสกภาพด้วย Apple Intelligence
- ใช้ Apple Intelligence ในแอปรูปภาพ
- สรุปการแจ้งเตือนและลดการรบกวน
- ใช้ ChatGPT ด้วย Apple Intelligence
- Apple Intelligence และความเป็นส่วนตัว
- ปิดกั้นการเข้าถึงคุณสมบัติ Apple Intelligence ในเวลาหน้าจอ
-
- ทำงานบนอุปกรณ์ทุกเครื่องโดยใช้ความต่อเนื่อง
- ใช้ AirDrop เพื่อส่งรายการไปยังอุปกรณ์ที่อยู่ใกล้เคียง
- ส่งต่องานระหว่างอุปกรณ์
- ตัด คัดลอก และวางระหว่าง iPad กับอุปกรณ์เครื่องอื่น
- สตรีมวิดีโอหรือสะท้อนหน้าจอของ iPad ของคุณ
- อนุญาตสายโทรศัพท์และข้อความตัวอักษรบน iPad ของคุณ
- แชร์การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตของคุณด้วยฮอตสปอตส่วนบุคคล
- ใช้ iPad เป็นเว็บแคมของ Apple TV
- แทรกภาพสเก็ตช์ รูปภาพ และภาพสแกนบน Mac
- ใช้ iPad เป็นจอภาพที่สองสำหรับ Mac
- ใช้แป้นพิมพ์และเมาส์หรือแทร็คแพดบน Mac และ iPad ของคุณ
- เชื่อมต่อ iPad และคอมพิวเตอร์ของคุณด้วยสาย
-
- เริ่มต้นด้วยคุณสมบัติการช่วยการเข้าถึง
- ใช้คุณสมบัติการช่วยการเข้าถึงในระหว่างการตั้งค่า
- เปลี่ยนการตั้งค่าการช่วยการเข้าถึงสำหรับ Siri
- เปิดใช้หรือปิดใช้คุณสมบัติการช่วยการเข้าถึงอย่างรวดเร็ว
-
- ภาพรวมของคุณสมบัติการช่วยการเข้าถึงสำหรับการมองเห็น
- ซูมเข้า
- ดูข้อความที่คุณกำลังอ่านหรือป้อนในเวอร์ชั่นที่ใหญ่กว่า
- เปลี่ยนสีที่แสดง
- ทำให้อ่านข้อความง่ายขึ้น
- ลดการเคลื่อนไหวบนหน้าจอ
- ใช้ iPad อย่างสะดวกสบายยิ่งขึ้นในขณะโดยสารรถยนต์
- กำหนดการตั้งค่าภาพเฉพาะแอป
- ฟังสิ่งที่อยู่บนหน้าจอหรือที่ถูกป้อน
- ฟังคำบรรยายเสียง
-
- เปิดใช้แล้วฝึกหัดใช้ VoiceOver
- เปลี่ยนการตั้งค่า VoiceOver ของคุณ
- ใช้คำสั่งนิ้ว VoiceOver
- สั่งงาน iPad เมื่อ VoiceOver เปิดอยู่
- ควบคุม VoiceOver โดยใช้ตัวหมุน
- ใช้แป้นพิมพ์บนหน้าจอ
- เขียนด้วยนิ้วของคุณ
- ปิดหน้าจออยู่เสมอ
- ใช้ VoiceOver กับแป้นพิมพ์ภายนอก
- ใช้เครื่องแสดงผลอักษรเบรลล์
- ป้อนอักษรเบรลล์บนหน้าจอ
- กำหนดคำสั่งนิ้วและคำสั่งลัดแป้นพิมพ์เอง
- ใช้ VoiceOver กับอุปกรณ์ตัวชี้
- รับคำอธิบายของสิ่งรอบข้างคุณแบบสดๆ
- ใช้ VoiceOver ในแอปต่างๆ
-
- ภาพรวมของคุณสมบัติการช่วยการเข้าถึงสำหรับการเคลื่อนไหว
- ใช้ AssistiveTouch
- ใช้แทร็คแพดบนหน้าจอที่ปรับได้บน iPad
- ควบคุม iPad ด้วยการเคลื่อนไหวของดวงตาของคุณ
- ปรับการตอบสนองต่อการสัมผัสของคุณของ iPad
- การรับสายอัตโนมัติ
- เปลี่ยนการตั้งค่า Face ID และการตั้งใจมอง
- ใช้คำสั่งการสั่งการด้วยเสียง
- ปรับปุ่มด้านบนหรือปุ่มโฮม
- ใช้ปุ่มต่างๆ ของ Apple TV Remote
- ปรับการตั้งค่าตัวชี้
- ปรับการตั้งค่าแป้นพิมพ์
- ควบคุม iPad ด้วยแป้นพิมพ์ภายนอก
- ปรับการตั้งค่า AirPods
- ปรับการตั้งค่าการแตะสองครั้งและการบีบสำหรับ Apple Pencil
-
- ควบคุมสิ่งที่คุณแชร์
- เปิดใช้คุณสมบัติหน้าจอล็อค
- ทำให้บัญชี Apple ของคุณปลอดภัย
- สร้างและจัดการที่อยู่สำหรับซ่อนอีเมลของฉัน
- ปกป้องการท่องเว็บของคุณด้วย iCloud Private Relay
- ใช้ที่อยู่เครือข่ายส่วนตัว
- ใช้การปกป้องข้อมูลขั้นสูง
- ใช้โหมดล็อคดาวน์
- รับคำเตือนเกี่ยวกับเนื้อหาที่ละเอียดอ่อน
- ใช้การตรวจสอบยืนยันรหัสผู้ติดต่อ
-
- ข้อมูลด้านความปลอดภัยที่สำคัญ
- ข้อมูลด้านการดูแลที่สำคัญ
- ค้นหาแหล่งข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับซอฟต์แวร์และบริการ
- แถลงการณ์การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ FCC
- แถลงการณ์การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ ISED Canada
- Apple กับสิ่งแวดล้อม
- ข้อมูลเกี่ยวกับเลเซอร์คลาส 1
- ข้อมูลด้านการกำจัดและการรีไซเคิล
- การแก้ไข iPadOS โดยไม่ได้รับอนุญาต
- แถลงการณ์การปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของ ENERGY STAR
- ลิขสิทธิ์
ใช้คำสั่งการสั่งการด้วยเสียงเพื่อโต้ตอบกับ iPad
หลังจากเปิดใช้การสั่งการด้วยเสียงบน iPad แล้ว คุณสามารถพูดคำสั่งเพื่อโต้ตอบกับสิ่งที่อยู่บนหน้าจอ ทำคำสั่งนิ้วและกดปุ่ม ป้อนตามคำบอกและแก้ไขข้อความ และอื่นๆ ได้
หมายเหตุ: เมื่อการสั่งการด้วยเสียงเปิดใช้อยู่ คุณจะใช้การสั่งการด้วยเสียงเพื่อป้อนข้อความตามคำบอก ไม่มีการป้อนตามคำบอกแบบมาตรฐานของ iPadOS ถ้าคุณต้องการป้อนข้อความโดยใช้การป้อนตามคำบอกเท่านั้น โดยไม่ต้องควบคุม iPad ด้วยเสียง ให้ดูที่ป้อนข้อความตามคำบอก การสั่งการด้วยเสียงไม่ได้มีในทุกภาษา ให้ดูที่เว็บไซต์ความพร้อมใช้งานของคุณสมบัติต่างๆ ใน iOS และ iPadOS
ตั้งค่าการสั่งการด้วยเสียง
ก่อนที่คุณจะเปิดใช้การสั่งการด้วยเสียงเป็นครั้งแรก ตรวจสอบให้แน่ใจว่า iPad เชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตผ่านเครือข่าย Wi-Fi หลังจากที่ iPad ดำเนินการดาวน์โหลดไฟล์แบบครั้งเดียวจาก Apple เสร็จแล้ว คุณก็ไม่จำเป็นต้องใช้การเชื่อมต่อกับอินเทอร์เน็ตเพื่อใช้การสั่งการด้วยเสียง
ไปที่ การตั้งค่า > การช่วยการเข้าถึง > การสั่งการด้วยเสียง
แตะ ตั้งค่าการสั่งการด้วยเสียง แล้วแตะ ดำเนินการต่อ เพื่อเริ่มดาวน์โหลดไฟล์
เมื่อการดาวน์โหลดสำเร็จ จะแสดงในแถบสถานะเพื่อบ่งบอกว่าการสั่งการด้วยเสียงถูกเปิดใช้
ตั้งค่าตัวเลือกดังต่อไปนี้:
ภาษา: ตั้งค่าภาษาและดาวน์โหลดภาษาสำหรับใช้งานออฟไลน์
กำหนดคำสั่งเอง: ดูคำสั่งที่มีให้ใช้งานและสร้างคำสั่งใหม่
คำศัพท์: สอนการสั่งการด้วยเสียงให้จดจำคำและคำพูดใหม่ๆ คุณสามารถป้อนคำหรือคำพูด แล้วสอนการสั่งการด้วยเสียงว่าคุณออกเสียงคำหรือคำพูดนั้นอย่างไร หรือนำเข้ารายการคำศัพท์ได้
หมายเหตุ: ภาษาการสั่งการด้วยเสียงบางภาษาไม่รองรับคำศัพท์ที่กำหนดเอง
แสดงการยืนยัน: เมื่อการสั่งการด้วยเสียงรู้จำคำสั่ง การยืนยันแบบภาพจะแสดงขึ้นที่ด้านบนสุดของหน้าจอ
ส่งเสียงดัง: เมื่อการสั่งการด้วยเสียงรู้จำคำสั่ง ระบบจะเล่นเสียงที่ดังพอจะได้ยิน
แสดงคำแนะนำ: ดูคำแนะนำคำสั่งและคำแนะนำ
ชื่อหรือหมายเลขกำกับ: แสดงตัวเลข ชื่อ หรือเส้นตารางเหนือองค์ประกอบหน้าจอ
คุณสมบัติการตั้งใจมอง: บน iPad ที่มี Face ID การสั่งการด้วยเสียงจะปลุกเมื่อคุณดูที่ iPad และเข้าสู่โหมดพักเมื่อคุณมองไปทางอื่น
เปิดใช้หรือปิดใช้การสั่งการด้วยเสียง
หลังจากที่คุณตั้งค่าการสั่งการด้วยเสียงแล้ว คุณจะสามารถเปิดใช้หรือปิดใช้ได้อย่างรวดเร็วโดยปฏิบัติตามวิธีใดๆ ต่อไปนี้:
ใช้ศูนย์ควบคุมหากคุณได้เพิ่มไว้ในนั้น
ใช้ปุ่มลัดการช่วยการเข้าถึงหากคุณได้ตั้งค่าไว้
Siri: ลองพูดว่า: “เปิดการสั่งการด้วยเสียง” หรือ “ปิดการสั่งการด้วยเสียง” เรียนรู้วิธีใช้ Siri
เริ่มการใช้คำสั่ง
ในการใช้การสั่งการด้วยเสียงบน iPad ของคุณ เพียงแค่พูดคำสั่ง
การสั่งการด้วยเสียง: ตัวอย่างเช่น พูดว่า “เปิดศูนย์ควบคุม” “กลับไปที่หน้าจอโฮม” “แตะชื่อรายการ” หรือ “เพิ่มระดับเสียง”
เคล็ดลับ: ใช้การฝึกใช้การสั่งการด้วยเสียงแบบโต้ตอบเพื่อทำความคุ้นเคยกับการสั่งการด้วยเสียงและฝึกใช้คำสั่งที่สำคัญ ไปที่ การตั้งค่า > การช่วยการเข้าถึง > การสั่งการด้วยเสียง จากนั้นแตะ เปิดการฝึกใช้การสั่งการด้วยเสียง
หยุดพักหรือใช้การสั่งการด้วยเสียงต่อ
หยุดพักการสั่งการด้วยเสียงเมื่อคุณไม่ต้องการให้คำที่คุณพูดถูกตีความเป็นคำสั่งหรือการป้อนตามคำบอก ใช้การสั่งการด้วยเสียงต่อเมื่อคุณพร้อมให้อุปกรณ์ฟังคำสั่งหรือการป้อนตามคำบอกอีกครั้ง
การสั่งการด้วยเสียง: พูดว่า “หยุดฟัง” หรือ “เริ่มฟัง”
ดูคำสั่งที่คุณสามารถใช้ได้
แสดงรายการคำสั่งที่มี ซึ่งจะแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับแอปที่คุณใช้งานอยู่และสิ่งที่คุณกำลังทำ ตัวอย่างเช่น คุณจะเห็นคำสั่งการจัดรูปแบบข้อความขณะเขียนเอกสาร
การสั่งการด้วยเสียง: พูดว่า “แสดงคำสั่ง”
ในการเลือกหารายการคำสั่งที่รองรับทั้งหมดและดูตัวอย่างวิธีใช้ ให้ไปที่ การตั้งค่า > การช่วยการเข้าถึง > การสั่งการด้วยเสียง > คำสั่ง
ติดป้ายรายการบนหน้าจอ
เมื่อคุณไม่แน่ใจว่าจะเรียกบางอย่างว่าอะไร คุณสามารถแสดงชื่อหรือหมายเลขถัดจากแต่ละรายการบนหน้าจอได้ จากนั้นคุณสามารถใช้ชื่อหรือหมายเลขของรายการเพื่อโต้ตอบกับรายการนั้นได้
การสั่งการด้วยเสียง: พูดว่า “แสดงชื่อ” หรือ “แสดงหมายเลข”
ในการโต้ตอบกับรายการ ให้พูดชื่อหรือหมายเลขของรายการ หรือพูดคำสั่ง เช่น “กดค้าง” ตามด้วยชื่อหรือหมายเลขของรายการ ชื่อหรือหมายเลขของรายการจะหายไปหลังจากที่คุณพูดคำสั่ง
แสดงตารางแบบมีหมายเลขบนหน้าจอ
คุณสามารถทำให้การโต้ตอบกับพื้นที่ที่เฉพาะเจาะจงบนหน้าจอง่ายขึ้นได้โดยการซ้อนตาราง
การสั่งการด้วยเสียง: พูดว่า “แสดงตาราง”
โต้ตอบกับตำแหน่งบนตาราง: ถ้าหมายเลขอยู่ในตำแหน่งที่คุณต้องการโต้ตอบ ให้พูดคำสั่ง เช่น “แตะ” ตามด้วยหมายเลขตาราง ตารางจะหายไปหลังจากที่คุณพูดคำสั่ง
เจาะลึกลงไปในพื้นที่ของตาราง: ถ้าคุณต้องการปรับตำแหน่งเพิ่มเติม ให้พูดหมายเลขตารางเพื่อแสดงตารางที่มีรายละเอียดมากขึ้นในพื้นที่นั้น
พูดว่า “ซ่อนชื่อ” “ซ่อนหมายเลข” หรือ “ซ่อนตาราง” เพื่อปิดใช้การซ้อนทับ
ป้อนข้อความ
เมื่อทำงานในพื้นที่ป้อนข้อความ คุณสามารถป้อนตามคำบอกทีละคำ (ด้วยโหมดการป้อนตามคำบอก) หรือทีละอักขระ (ด้วยโหมดการสะกด) ได้ ในการหลีกเลี่ยงการป้อนคำสั่งการสั่งการด้วยเสียงเป็นข้อความผิดพลาด ให้ทำให้การสั่งการด้วยเสียงตอบสนองเฉพาะคำสั่งเท่านั้น (ด้วยโหมดคำสั่ง)
เมื่อคุณอยู่ในพื้นที่ป้อนข้อความและติดป้ายรายการบนหน้าจอด้วยหมายเลข หมายเลขจะแสดงถัดจากบรรทัดข้อความแต่ละบรรทัด เลือกบรรทัดหรือส่วนอื่นของข้อความเพื่อแสดงหมายเลขสำหรับแต่ละคำในการเลือก เลือกคำเดียวเพื่อแสดงหมายเลขสำหรับแต่ละอักขระในคำนั้น ในการโต้ตอบกับรายการข้อความ (เช่น บรรทัดหรือคำ) ให้พูดคำสั่งตามด้วยชื่อหรือหมายเลขของรายการ ตัวอย่างเช่น คุณสามารถพูดว่า “ลบ [หมายเลขรายการ]” หรือ “ทำให้ [หมายเลขรายการ] เป็นตัวพิมพ์ใหญ่” ได้
คำสั่ง | คำอธิบาย |
---|---|
การสั่งการด้วยเสียง: พูดว่า “โหมดการป้อนตามคำบอก” | ป้อนตามคำบอกทีละคำ คำที่ไม่ใช่คำสั่งการสั่งการด้วยเสียงจะถูกป้อนเป็นข้อความ โหมดการป้อนตามคำบอกจะเปิดใช้อยู่ตามค่าเริ่มต้น ในภาษาการสั่งการด้วยเสียงบางภาษา ถ้าหลายคำตรงกับสิ่งที่คุณพูดตามคำอ่านออกเสียง คำเหล่านั้นจะแสดงบนหน้าจอ แตะเพื่อเลือกคำที่คุณต้องการ |
การสั่งการด้วยเสียง: พูดว่า “โหมดการสะกด” | ป้อนตามคำบอกทีละอักขระ โหมดการสะกดเป็นประโยชน์ในสถานการณ์ที่คุณต้องป้อนรหัสผ่าน ที่อยู่เว็บ หรือลำดับอักขระอื่นๆ ที่ไม่สามารถถูกจดจำเป็นคำในโหมดการป้อนตามคำบอกได้ เมื่อโหมดการสะกดเปิดอยู่ จะแสดงขึ้นในพื้นที่ป้อนข้อความ ในการเพิ่มความแม่นยำในการป้อนตัวอักษร คุณสามารถใช้รหัสพยัญชนะตามคำอ่านออกเสียงของตัวอักษรได้ (เช่น พูดว่า “Alfa Bravo Charlie” เพื่อป้อน “abc”) หมายเหตุ: โหมดการสะกดไม่ได้มีในภาษาการสั่งการด้วยเสียงทุกภาษา |
การสั่งการด้วยเสียง: พูดว่า “โหมดคำสั่ง” | การสั่งการด้วยเสียงจะตอบสนองเฉพาะกับคำสั่งเท่านั้น คำและอักขระที่ไม่ใช่คำสั่งจะถูกละเว้นและจะไม่ถูกป้อนเป็นข้อความ โหมดคำสั่งเป็นประโยชน์ในสถานการณ์ที่คุณต้องพูดคำสั่งเป็นชุดและไม่ต้องการป้อนคำสั่งเหล่านั้นในพื้นที่ป้อนข้อความโดยไม่ได้ตั้งใจ เมื่อโหมดคำสั่งเปิดอยู่ จะแสดงขึ้นในพื้นที่ป้อนข้อความเพื่อระบุว่าคุณไม่สามารถป้อนข้อความโดยการป้อนตามคำบอกได้ |