วิธีใช้สูตรและฟังก์ชั่น
- ยินดีต้อนรับ
- สูตรและฟังก์ชั่นเบื้องต้น
-
- ACCRINT
- ACCRINTM
- BONDDURATION
- BONDMDURATION
- COUPDAYBS
- COUPDAYS
- COUPDAYSNC
- COUPNUM
- CUMIPMT
- CUMPRINC
- CURRENCY
- CURRENCYCODE
- CURRENCYCONVERT
- CURRENCYH
- DB
- DDB
- DISC
- EFFECT
- FV
- INTRATE
- IPMT
- IRR
- ISPMT
- MIRR
- NOMINAL
- NPER
- NPV
- PMT
- PPMT
- PRICE
- PRICEDISC
- PRICEMAT
- PV
- RATE
- RECEIVED
- SLN
- STOCK
- STOCKH
- SYD
- VDB
- YIELD
- YIELDDISC
- YIELDMAT
-
- AVEDEV
- AVERAGE
- AVERAGEA
- AVERAGEIF
- AVERAGEIFS
- BETADIST
- BETAINV
- BINOMDIST
- CHIDIST
- CHIINV
- CHITEST
- CONFIDENCE
- CORREL
- COUNT
- COUNTA
- COUNTBLANK
- COUNTIF
- COUNTIFS
- COVAR
- CRITBINOM
- DEVSQ
- EXPONDIST
- FDIST
- FINV
- FORECAST
- FREQUENCY
- GAMMADIST
- GAMMAINV
- GAMMALN
- GEOMEAN
- HARMEAN
- INTERCEPT
- LARGE
- LINEST
- LOGINV
- LOGNORMDIST
- MAX
- MAXA
- MEDIAN
- MIN
- MINA
- MODE
- NEGBINOMDIST
- NORMDIST
- NORMINV
- NORMSDIST
- NORMSINV
- PERCENTILE
- PERCENTRANK
- PERMUT
- POISSON
- PROB
- QUARTILE
- RANK
- SLOPE
- SMALL
- STANDARDIZE
- STDEV
- STDEVA
- STDEVP
- STDEVPA
- TDIST
- TINV
- TTEST
- VAR
- VARA
- VARP
- VARPA
- WEIBULL
- ZTEST
FREQUENCY
ฟังก์ชั่น FREQUENCY จะส่งอาร์เรย์ของค่าข้อมูลที่พบบ่อยในคอลเลกชั่นของค่าที่ระบุ
FREQUENCY(ค่าข้อมูล, ค่าระหว่างช่วงเวลา)
ค่าข้อมูล: คอลเลกชั่นที่ประกอบด้วยจำนวนที่จะถูกคำนวณ ค่าข้อมูลต้องประกอบด้วยค่าตัวเลข ค่าวันที่/เวลา หรือค่าระยะเวลา ค่าทุกค่าต้องเป็นประเภทค่าเดียวกัน
ค่าระหว่างช่วงเวลา: คอลเลกชั่นที่ประกอบด้วยค่าช่วง ค่าระหว่างช่วงเวลาต้องประกอบด้วยค่าประเภทเดียวกับค่าที่คอลเลกชั่นค่าข้อมูล
หมายเหตุ
FREQUENCY จะบอกถึงจำนวนของค่าใน ข้อมูล ที่อยู่ในช่วงที่ระบุไว้ ช่วงของอาร์เรย์จะสามารถทำงานได้ง่ายขึ้นหากมีการจัดเรียงลำดับ ความถี่แรกนั้นจะเป็นการนับของตัวเลขเหล่านั้นที่น้อยกว่าหรือเท่ากับช่วงที่เล็กที่สุด ค่าความถี่อื่นๆ รวมถึงสุดท้ายจะเป็นการนับของตัวเลขเหล่านั้นที่มากกว่าช่วงที่เล็กที่สุดและน้อยกว่าหรือเท่ากับช่วงปัจจุบัน ความถี่สุดท้ายนั้นจะเป็นการนับของตัวเลขเหล่านั้นที่มากกว่าช่วงที่ใหญ่ที่สุด
ค่าที่ถูกส่งกลับมานั้นจะอยู่ในรูปของอาร์เรย์ วิธีการหนึ่งสำหรับอ่านค่าในอาร์เรย์คือการใช้ฟังก์ชั่น INDEX ในการทำงาน คุณสามารถใส่ฟังก์ชั่น FREQUENCY ไว้ในฟังก์ชั่น INDEX ได้: =INDEX(FREQUENCY(ข้อมูล, ค่าระหว่างช่วงเวลา), x) ที่ x คือช่วงที่ต้องการ ควรจำไว้ว่าจะมีช่วงหนึ่งที่มากกว่าค่าระหว่างช่วงเวลาที่ระบุ
ตัวอย่าง |
---|
สมมติให้ตารางนี้ประกอบด้วยคะแนนสอบของนักเรียน 30 คนที่พึ่งสอบไป คะแนนอยู่ในเซลล์ A1:E6 สมมติให้เกรดที่ผ่านมีคะแนนขั้นต่ำคือ 65 และคะแนนต่ำสุดสำหรับเกรดอื่นๆ จะเป็นตามที่ระบุไว้ (ในลักษณะ % ที่อยู่ในตาราง) เพื่อความสะดวกในการสร้างสูตร ค่า “F” (ใต้ “Gr.” ในคอลัมน์ C) จะถูกแทนด้วย 1 และ “A” จะแทนด้วย 5 |
A | B | C | D | E | |
---|---|---|---|---|---|
1 | 55 | 75 | 90 | 65 | 91 |
2 | 33 | 88 | 74 | 97 | 77 |
3 | 83 | 76 | 89 | 93 | 92 |
4 | 74 | 96 | 51 | 87 | 81 |
5 | 99 | 100 | 82 | 86 | 76 |
6 | 84 | 85 | 61 | 74 | 78 |
7 | % | Gr. | |||
8 | 65 | 1 | |||
9 | 74 | 2 | |||
10 | 83 | 3 | |||
11 | 91 | 4 | |||
12 | 5 |
=INDEX(FREQUENCY($A$1:$E$6, $B$8:$B$11), C8) จะส่งค่ากลับมาเป็น 5 ซึ่งเป็นจำนวนของนักเรียนที่ได้เกรด “F” (คะแนนเป็น 65 หรือน้อยกว่า) สมการนี้สามารถป้อนในเซลล์ D8 และจากนั้นเพิ่มลงในเซลล์ D12 ค่าผลลัพธ์ที่จะส่งกลับมาสำหรับเกรด "D" ถึง "A" เป็น 3, 8, 8, และ 6 ตามลำดับ |