วิธีใช้สูตรและฟังก์ชั่น
- ยินดีต้อนรับ
- สูตรและฟังก์ชั่นเบื้องต้น
-
- ACCRINT
- ACCRINTM
- BONDDURATION
- BONDMDURATION
- COUPDAYBS
- COUPDAYS
- COUPDAYSNC
- COUPNUM
- CUMIPMT
- CUMPRINC
- CURRENCY
- CURRENCYCODE
- CURRENCYCONVERT
- CURRENCYH
- DB
- DDB
- DISC
- EFFECT
- FV
- INTRATE
- IPMT
- IRR
- ISPMT
- MIRR
- NOMINAL
- NPER
- NPV
- PMT
- PPMT
- PRICE
- PRICEDISC
- PRICEMAT
- PV
- RATE
- RECEIVED
- SLN
- STOCK
- STOCKH
- SYD
- VDB
- XIRR
- XNPV
- YIELD
- YIELDDISC
- YIELDMAT
-
- AVEDEV
- AVERAGE
- AVERAGEA
- AVERAGEIF
- AVERAGEIFS
- BETADIST
- BETAINV
- BINOMDIST
- CHIDIST
- CHIINV
- CHITEST
- CONFIDENCE
- CORREL
- COUNT
- COUNTA
- COUNTBLANK
- COUNTIF
- COUNTIFS
- COVAR
- CRITBINOM
- DEVSQ
- EXPONDIST
- FDIST
- FINV
- FORECAST
- FREQUENCY
- GAMMADIST
- GAMMAINV
- GAMMALN
- GEOMEAN
- HARMEAN
- INTERCEPT
- LARGE
- LINEST
- LOGINV
- LOGNORMDIST
- MAX
- MAXA
- MAXIFS
- MEDIAN
- MIN
- MINA
- MINIFS
- MODE
- NEGBINOMDIST
- NORMDIST
- NORMINV
- NORMSDIST
- NORMSINV
- PERCENTILE
- PERCENTRANK
- PERMUT
- POISSON
- PROB
- QUARTILE
- RANK
- SLOPE
- SMALL
- STANDARDIZE
- STDEV
- STDEVA
- STDEVP
- STDEVPA
- TDIST
- TINV
- TTEST
- VAR
- VARA
- VARP
- VARPA
- WEIBULL
- ZTEST
COUPDAYBS
ฟังก์ชั่น COUPDAYBS จะแสดงค่าออกมาเป็นจำนวนวันระหว่างวันเริ่มต้นของงวดดอกเบี้ยในการชำระที่เกิดขึ้นและวันที่ชำระ
COUPDAYBS(วันส่งมอบหลักทรัพย์, ครบกำหนด, ครั้งการชำระตราสาร, เกณฑ์การนับวัน)
วันส่งมอบหลักทรัพย์: ค่าวันที่/เวลาหรือสตริงวันที่ที่แทนวันส่งมอบหลักทรัพย์ โดยทั่วไปแล้วจะอยู่หลังวันซื้อขายหนึ่งวันขึ้นไป
ครบกำหนด: ค่าวันที่/เวลาหรือสตริงวันที่ที่แทนถึงวันที่หลักทรัพย์ครบกำหนด วันครบกำหนดต้องอยู่หลังวันที่ที่ระบุว่าเป็นวันส่งมอบหลักทรัพย์
ครั้งการชำระตราสาร: ค่าโมดอลที่ระบุถึงจำนวนของการชำระดอกเบี้ยในแต่ละปี
การจ่ายดอกเบี้ยทุกปี (1): การจ่ายดอกเบี้ยปีละ 1 ครั้ง
การจ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี (2): การจ่ายดอกเบี้ยปีละ 2 ครั้ง
การจ่ายดอกเบี้ยทุกไตรมาส (4): การจ่ายดอกเบี้ยปีละ 4 ครั้ง
เกณฑ์การนับวัน: ค่าโมดอลทางเลือกที่ระบุจำนวนวันต่อเดือนและจำนวนวันต่อปี (เกณฑ์การนับวัน) ที่ใช้ในการคำนวณ
30/360 (0 หรือละเว้น): 30 วันในหนึ่งเดือน หรือ 360 วันในหนึ่งปี โดยใช้วิธีการของ NASD สำหรับวันที่ที่ตรงกับวันที่ 31 ของเดือน
ข้อมูลที่มีอยู่จริง/ข้อมูลที่มีอยู่จริง (1): วันที่มีอยู่จริงในแต่ละเดือน วันที่มีอยู่จริงในแต่ละปี
ข้อมูลที่มีอยู่จริง/360 (2): วันที่มีอยู่ในจริงแต่ละเดือน 360 วันในหนึ่งปี
ข้อมูลที่มีอยู่จริง/365 (3): วันที่มีอยู่ในจริงแต่ละเดือน 365 วันในหนึ่งปี
30E/360 (4): 30 วันในหนึ่งเดือน หรือ 360 วันในหนึ่งปี โดยใช้วิธีการของยุโรป สำหรับวันที่ที่ตรงกับวันที่ 31 ของเดือน
ตัวอย่าง |
---|
สมมติคุณกำลังพิจารณารายจ่ายของหลักทรัพย์ หลักทรัพย์ที่ซื้อจะส่งมอบวันที่ 2 เมษายน 2010 (วันส่งมอบหลักทรัพย์) ตราสารหนี้ครบกำหนดวันที่ 31 ธันวาคม 2015 (ครบกำหนด) และจะชำระดอกเบี้ยปีละ 4 ครั้ง (ครั้งการชำระสาร) ตามวันที่ปฏิทินจริง (เกณฑ์การนับวัน) =COUPDAYBS("2/4/2010", "31/12/2015", 4, 1) จะส่งค่ากลับมาเป็น 2 เนื่องจากระหว่างวันจ่ายดอกเบี้ยที่ระบุไว้ของหุ้นกู้ครั้งสุดท้ายของวันที่ 31 มีนาคม 2010 และวันส่งมอบทรัพย์สินวันที่ 2 เมษายน 2010 เท่ากับ 2 วัน นี้เป็นจำนวนของวันที่รวมอยู่ในการคำนวณของดอกเบี้ยค้างรับที่จะเพิ่มราคาซื้อของพันธบัตร |